地表最大NASA 黑客松,等你來挑戰!
🌏🚀解決地球和太空中的挑戰問題需要觀察、協作、創造力和批判性思維。 AIT處長孫曉雅鼓勵程式設計師、科學家、設計師、說故事高手、創客、技術專家一起來使用您的 #超能力 並參加 10 月 2 日至 3 日第 10 屆NASA - National Aeronautics and Space Administration #SpaceApps 黑客松的台北場挑戰賽!獲勝團隊將可進入世界決賽,角逐 NASA 全球首獎!這些挑戰問題適合所有人參加,不限年齡,不侷限專業程度與能力。一起腦力激盪,馬上報名: https://bit.ly/3kKf448
詳情請參閱關於此次黑客松競賽的新聞稿:https://bit.ly/3DYAKCz
🌏🚀Addressing real-world problems on Earth and in space takes observation, collaboration, creativity, and critical thinking. AIT Director Oudkirk encourages coders, scientists, designers, storytellers, makers, builders, and technologists to use your #superpower and participate in the 10th annual NASA - National Aeronautics and Space Administration #SpaceApps Challenge in Taipei on October 2-3! Local winners of the hackathon will participate in the NASA International Space Apps Challenge. No matter what your age or skill level may be, sign up now by visiting: https://bit.ly/3kKf448
Read AIT’s press release on the hackathon here: https://bit.ly/3jUpezW
nasa participate 在 ReLab - Review Laboratory Facebook 的精選貼文
DỰ ÁN "SEND YOUR NAME TO MARS" - có thể dịch là gửi tên bạn lên hành tinh sao Hoả.
Anh em đăng ký để tên mình xuất hiện trên chiến bay từ Cape Canaveral , trạm không gian vũ trụ Nasa , Florida , Trái Đất đến hành tinh sao Hoả nhé.
Link đăng ký miễn phí: https://mars.nasa.gov/participate/send-your-name/future
#ReLab #News #SaoHoa
nasa participate 在 อ๋อ มันเป็นอย่างนี้นี่เอง by อาจารย์เจษฎ์ Facebook 的最讚貼文
พาดหัวข่าวแบบนี้ คนตกใจหมดเลย .. "นาซาเตือน แม้แต่ระเบิดนิวเคลียร์ ก็ไม่สามารถหยุดดาวเคราะห์น้อยที่จะมุ่งหน้ามายังโลกได้" !?
.. คือ มันไม่ได้กำลังมีดาวเคราะห์น้อยจริงๆ พึ่งชนโลกนะ เค้าแค่จำลองสถานการณ์ (ทำ simulation) ในคอมพิวเตอร์กัน 😂😂
ในเนื้อข่าวจริงๆ บอกว่า นักวิทยาศาสตร์องค์การบริหารการบินและอวกาศแห่งชาติสหรัฐฯ (นาซา) ได้ข้อสรุปจากการ "ทดลองจำลองเหตุการณ์" เพื่อหาวิธีปกป้องโลกของเรา จากการถูกดาวเคราะห์น้อยขนาดยักษ์พุ่งชนโลก ว่าถึงแม้จะใช้ระเบิดนิวเคลียร์ ก็ไม่สามารถจะหยุดยั้งดาวเคราะห์น้อยที่จะพุ่งชนโลกได้ (แต่ในแบบจำลอง ไม่ใช่จะมีมาพุ่งชนจริงๆ)
ลองอ่านคำอธิบายเพิ่มเติม จากสถาบันดาราศาสตร์แห่งชาตินะครับ (จาก https://www.facebook.com/148300028566953/posts/4159786517418264/?app=fbl)
“ดาวเคราะห์น้อย 2021 PDC กำลังพุ่งตรงมายังโลก เรามีเวลาแค่หกเดือนที่จะรับมือกับมัน”
นี่คือ #สถานการณ์จำลอง ที่ตั้งขึ้นเพื่อฝึกการรับมือต่อกรณีฉุกเฉิน และการวางแผนเพื่อจัดการภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
การจำลองสถานการณ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของงานประชุมวิชาการออนไลน์ด้านการป้องกันดาวเคราะห์ (Planetary Defense Conference) ในวันที่ 26-30 เมษายน พ.ศ. 2564 ที่กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับดาวเคราะห์น้อยจากทั่วโลกเข้าร่วม
“2021 PDC” ดาวเคราะห์น้อยสมมติที่สร้างขึ้นให้เหมือนกับดาวเคราะห์น้อยจริง ๆ โดยสร้างสถานการณ์ว่า มีการค้นพบดาวเคราะห์น้อยดวงนี้เมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2564 และมีค่าความเสี่ยงที่จะพุ่งชนโลกสูงมากในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2564 ซึ่งมีเวลาแค่หกเดือนในการคิดแผนรับมือ นับว่าเป็นโจทย์ที่ท้าทายมากเนื่องจากมีข้อมูลที่น้อยและมีระยะเวลาในการรับมือไม่มากนัก
เพื่อหาทางออกในโจทย์ปัญหานี้ จึงแบ่งขั้นตอนของแผนการรับมือออกเป็น 4 วัน (ตามจำนวนวันที่จัดประชุมวิชาการ) แต่ละวันอยู่ในช่วงเวลาตั้งแต่การค้นพบดาวเคราะห์น้อย 2021 PDC จนถึงวันที่มันจะพุ่งชนโลก ซึ่งแต่ละวันมีรายละเอียดดังนี้
#วันที่1 จำลองสถานการณ์ของวันที่ 19 เมษายน 2564 วันแรกที่ค้นพบ
เริ่มต้นที่หอดูดาว Pan-STARRS ยืนยันการค้นพบดาวเคราะห์น้อย ตั้งชื่ออย่างเป็นทางการว่า “2021 PDC” และประมาณระยะห่างจากโลกไว้ที่ 35 ล้านกิโลเมตร เนื่องจากมีข้อมูลน้อยมาก จึงยังไม่สามารถระบุขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางที่แน่นอนได้ คาดว่ามีขนาดตั้งแต่ 35 ถึง 700 เมตร ซึ่งเป็นค่าที่ความแม่นยำค่อนข้างต่ำมาก และมีโอกาส 5% ที่จะพุ่งชนโลกในวันที่ 20 ตุลาคม 2564 นับว่าเป็นอัตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับดาวเคราะห์น้อยที่เคยเข้าใกล้โลกทั้งหมด พื้นที่เสี่ยงต่อการพุ่งชนกินพื้นที่ถึง 2 ใน 3 ของพื้นผิวโลก จึงเริ่มมีการหารือถึงความเป็นไปได้ที่จะเบี่ยงเบนวิธีโคจรของมันออกไป เช่น ส่งนิวเคลียร์เพื่อให้แรงระเบิดเบี่ยงเส้นทางของดาวเคราะห์น้อย
#วันที่2 จำลองสถานการณ์ของวันที่ 2 พฤษภาคม 2564
นักดาราศาสตร์สรุปว่า 2021 PDC จะพุ่งชนโลกในวันที่ 20 ตุลาคมนี้อย่างแน่นอน สามารถระบุตำแหน่งพุ่งชนได้แคบลง คือ บริเวณทวีปยุโรป และบริเวณแอฟริกาเหนือ แต่ข้อมูลทางกายภาพ เช่น ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง หรือองค์ประกอบอื่น ๆ ที่จะส่งผลต่อความรุนแรงในการชนยังไม่สามารถระบุได้ ต้องรอให้ดาวเคราะห์น้อยเข้าใกล้โลกมากกว่านี้ แล้วสังเกตการณ์ด้วยเรดาร์จึงจะได้ข้อมูลมากขึ้น และยังมีข้อสรุปที่สำคัญ คือ ระเบิดนิวเคลียร์ที่มีความรุนแรงพอจะเบี่ยงเบนดาวเคราะห์น้อยได้นั้น ไม่สามารถสร้างเสร็จทันภายในระยะเวลา 6 เดือน
#วันที่3 จำลองสถานการณ์ของวันที่ 30 พฤษภาคม 2564
หลังจากนักดาราศาสตร์จากทั่วโลกช่วยกันติดตาม 2021 PDC ทำให้ข้อมูลมากเพียงพอจะประมาณพื้นที่เสี่ยงที่แคบลงได้คือบริเวณประเทศเยอรมนี เช็กเกีย ออสเตรีย สโลวีเนีย และโครเอเชีย และคาดว่ามีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางตั้งแต่ 30 ถึง 500 เมตร หากใช้ขนาดเฉลี่ยของดาวเคราะห์น้อยทั่วไปคือ 136 เมตร พุ่งชนบริเวณดังกล่าว จะทำให้เกิดความเสียหายเป็นวงกว้างมากถึง 250 กิโลเมตร และอาจมีผู้ได้รับอันตรายจำนวนมากถึง 6.6 ล้านคน
#วันที่4 จำลองสถานการณ์ของวันที่ 14 ตุลาคม 2564 หกวันก่อนการพุ่งชน
ขณะตอนนี้ 2021 PDC อยู่ห่างจากโลกแค่ 3.9 ล้านกิโลเมตร (ประมาณ 10 เท่าของระยะห่างเฉลี่ยระหว่างโลกกับดวงจันทร์) ซึ่งเป็นระยะทางที่สามารถใช้เรดาร์สังเกตการณ์ดาวเคราะห์น้อยได้ พบว่ามีขนาดประมาณ 105 เมตร เล็กว่าที่เคยประมาณไว้ และสามารถระบุพื้นที่พุ่งชนได้แคบลง อยู่บริเวณรอยต่อของประเทศเยอรมนี เช็กเกีย และออสเตรีย ช่วยให้อพยพผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณดังกล่าวออกไปได้ทัน
สถานการณ์จำลองดาวเคราะห์น้อยสมมติ 2021 PDC ทำให้องค์กรอวกาศต่าง ๆ พัฒนาแนวทางเก็บข้อมูลวัตถุใกล้โลก (Near Earth Object) การบริหารจัดการและการตัดสินใจในสถานการณ์ฉุกเฉิน แสดงให้เห็นว่าควรมีความร่วมมือกันอย่างไรเพื่อรับมือหากมีดาวเคราะห์น้อยพุ่งชนโลกจริง
งานประชุมวิชาการออนไลน์ด้านการป้องกันดาวเคราะห์ในครั้งนี้เป็นการจำลองสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นจริง และนอกจากนี้วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2564 นาซาจะส่งยาน DART ที่มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบเทคโนโลยีในการเบี่ยงเบนเส้นทางของดาวเคราะห์น้อย สามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ https://www.narit.or.th/index.php/astronomy-news/1180-nasa-dart-65803-didymos
เรียบเรียง : สิทธิพร เดือนตะคุ - เจ้าหน้าที่สารสนเทศดาราศาสตร์ชำนาญการ สดร.
อ้างอิง :
[1] NASA to Participate in Tabletop Exercise Simulating Asteroid Impact, www.nasa.gov
[2] NASA to Participate in Tabletop Exercise Simulating Asteroid Impact, www.jpl.nasa.gov
[3] Planetary Defense Conference Exercise – 2021, www.cneos.jpl.nasa.gov
[4] Deep (fake) impact, www.blogs.esa.int
------
ภาพข่าว จาก https://www.thairath.co.th/news/foreign/2084216
nasa participate 在 Send Your Name to Mars: Future Mission 的相關結果
Send Your Name to Mars on a future NASA mission. View and share your boarding pass. See your frequent flyer points. ... <看更多>
nasa participate 在 Send Your Name to Mars - NASA Mars Exploration 的相關結果
Mars 2020 Rover. NASA's Mars 2020 Rover is heading to the Red Planet, find your Boarding Pass here. ... <看更多>
nasa participate 在 Ways to Participate - NASA Mars 的相關結果
Participate · 'You've Got Perseverance!' Honors Students › · Roving with Perseverance Exhibit › · Send Your Name to Mars Again › · Mission to Mars Student Challenge ... ... <看更多>